Diary notes
No. 5
Monda 5 October 2558
The academic learning experience for creative children.
สรุปการเรียนการจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
กิจกรรม
1) กิจกรรมนักมายากลระดับโลก
เป็นกิจกรรมที่จะใช่คำถามเชิงจิตวิทยามาถามเพื่อให้รู้จักตัวเองมากขึ้น |
2) กิจกรรมนักออกแบบอาคาร โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
อุปกรณื ไม้จิ้มฟัน |
นำดินน้ำมันมาปั้นเป็นก้อนกลมๆเพื่อเป็นตัวเชื่อมระหวางไม่จิ้มฟัน |
ต่อกันจนสูงเท่าที่จะสูงได้ |
สรุปกิจกรรม กิจกรรมนี้จะทำให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างอาคารโดยใช้ หลั s =วิทยาศาสตร T=เทคดนดลยี E=วิศวะ M=คณิตศาศตร์
อุปกรณื ไม่เสียบลูกชิ้น กระดาษA4 1แผ้น หนังยาง |
ทำเรือให้ออกมาเป็นแแบใหนก็ได้ แต่ต้องสามารถว่างดินน้ำมันให้ได้มากที่สุดเมื่อลอยอยู่ในน้ำ |
วางดินน้ำมุนลงไปในเรือ |
สรุปกิจกรรม จากกิจกกรมนี้เด็กจะได้ฝึกการวางแผนและการคาดคะเนว่าจะทำยังไงให้เรือกระดาษสามารถบรรจุลูกบอลให้ได้มากที่สุด
การเล่น
เป็นกระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น
Piaget กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้
- ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play) เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
- ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play) อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
- ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมติ
ประเภทของเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสร้างสรรค์
- การเล่นกลางแจ้ง
- การเล่นในร่ม
ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น
Piaget กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้
- ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play) เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
- ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play) อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
- ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมติ
ประเภทของเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสร้างสรรค์
- การเล่นกลางแจ้ง
- การเล่นในร่ม
- การเล่นในร่ม
- การเล่นตามมุมประสบการณ์
- กา
- การเล่นตามมุมประสบการณ์
- กา
-การเล่นสรรค์สร้าง
- การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
- ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
- เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
1.สภาวะการเรียนรู้
2.พัฒนาการของการรู้คิด
3.กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
1.เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
2.การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
3.การจำแนกอย่างมีเหตุผล
หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
1.ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
2.ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
3.มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
รูปแบบการสอนแบบ STEM
S = Science
T = Tecnology
E = Engineering
M = Mathematics
- การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
- ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
- เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
1.สภาวะการเรียนรู้
2.พัฒนาการของการรู้คิด
3.กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
1.เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
2.การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
3.การจำแนกอย่างมีเหตุผล
หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
1.ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
2.ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
3.มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
รูปแบบการสอนแบบ STEM
S = Science
T = Tecnology
E = Engineering
M = Mathematics
Adoption( การนำไปใช้)
-นำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกกรมให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยในวิชาชีพในอนาคต
Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
ตั้งใจเรียนแต่งกานเรียบร้อย
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
-ให้ความร่วมมือกับการเรียนการสอนเป็นอย่างดี
Teacher-Assessment (ประเมินอาจารย์)
-อาจารย์เข้าสอนตรงเวลาตามเวลาที่กำหนด แนะนำแนวทางในการเรียนต่อไปได้ดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น